วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

แบบฝึกหัด 4.14

4. จะต้องใช้อากาศกี่กรัมเพื่อเผาไหม้ถ่านหิน 120.0 กรัม โดยที่ถ่านหินประกอบด้วยคาร์บอน (C) ร้อยละ 95.0 และส่วนประกอบอื่นที่ไม่เกิดการาไหม้ร้อยละ 5.0 กำหนดให้อากาศมีแก๊สออกซิเจน (O2) เป็นองค์ประกอบร้อยละ 23.0 โดยมวล
ในถ่านหิน 100 g ประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน (C) 95 g
ในถ่านหิน 120 g ประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน (C) 95 x 120
100
                                                         = 144 g
ในถ่านหินนี้มี C อยู่ = 114 g
จากโจทย์ เขียนสมการแทนปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ดังนี้
C + O2                          CO2
ถ้าเผา C 12 g จะต้องใช้ O2   32 g
ถ้าเผา C 114 g จะต้องใช้ O2   32 x 114 =  304 g
                                              12
จะต้องใช้ O2 = 304 g
โจทย์กำหนดให้ว่าในอากาศมี O2 อยู่ 23% โดยมวล
ถ้าใช้ O2 23 g ก้ต้องใช้อากาศจำนวน = 100 g
ถ้าใช้ O2 304 g ก็ต้องใช้อากาศจำนวน = 100 x 304
                                                                      23
                                                                                                      = 1321.74 g

จะต้องใช้อากาศจำนวน = 1321.74 g

แบบฝึกหัด 4.14

3.การผลิตกรดฟอสฟอริก (H3 PO4) เพื่อการค้าจะใช้สารทำปฎิกิริยากัน ดังสมการ
Ca3 ( PO4)2 (s) + 3H2SO4(aq) + 6H2O(l)                  3CaSO4.2H2O(s) + 2H3PO4(aq)
จงคำนวณหามวลของกรดซัลฟิวริกเข้มข้น (H2SO4) ที่ต้องใช้ทำปฎิกิริยาพดีกับแคลเซียมฟอสเฟต (Ca3(PO4)2) จำนวน 100.0  กรัม
ถ้าใช้แคลเซียมฟอสเฟต(Ca3(PO4)2) 310g จะต้องใช้กรดซัลฟิวริก(H2SO4) 294 g
ถ้าใช้แคลเซียมฟอสเฟต(Ca3(PO4)2) 100 g จะต้องใช้กรดซัลฟิวริก(H2SO4)294x 100
                                                                               310
                                                              = 94.84 g

จะต้องใช้ (H2SO4) 94.84 g

แบบฝึกหัด 4.14

2.แอสไพริน (C9 H8 O4) สามารถสังเคราะห์จากปฎิกิริยาระหว่างกรดซาลิซิลิก (C7 H6 O3) กับแอซีติกแอนไฮไดรด์ (C4 H6 O3) ดังสมการ
C7 H6 O3 (s) + C4 H6 O3 (l)                           C9 H8 O4 (s) + C2 H4 O2 (l)
จงคำนวณา
ก. มวลของแอซีติกแอนไฮไดรด์ที่ต้องใช้ในการทำปฎิกิริยาพอดีกับกรดซาลิซิลิก จำนวน 5.00x 102 กรัม
กรดซาลิซิลิก (C7 H6 O3) 138 g ทำพอดีกับแอซีติกแอนไฮไดรด์ (C4 H6 O3) 102 g
กรดซาลิซิลิก (C7 H6 O3) 5.00x 102 g ทำพอดีกับแอซีติกแอนไฮไดรด์ (C4 H6 O3) = 102 x 5 x 102
                                                                                                                 138
                                                                                                                  =    369.565

ตอบ จะต้องใช้ C4 H6 O3 = 369.565 g

ข. มวลของแอสไพรินที่เกิดขึ้นจากปฎิกิริยา
ถ้าใช้ C7 H6 O3 138 g จะเกิด C9 H8 O4 180 g
ถ้าใช้ C7 H6 O3 5.00x 102 g จะเกิด C9 H8 O4 = 180 x 5 x 102    = 652.174
138

ตอบ จะเกิด C9 H8 O4 = 652.174 g